เป็นเรื่องในชีวิตประจำวัน
เป็นเรื่องที่ไม่ค่อยหน้าเชื่อเท่าไรในเรื่องของคนที่พึ่งจะเข้าไปอยู่ในกลุ่งของคนเล่น vespa แล้วเราเป็นเด็กใหม่ที่ยังไม่รู้เรื่องอะไรเลย พอเราได้รถ vespa มาคันนึง แล้วมีวันนึงที่รถมันเกิดเสีย แล้วตอนนั้นเราก้อไม่รู้จะทำไงแล้วแต่มีเพื่อนคนนึงที่เรียนด้วยกัน ก้อได้นำเราเข้ามาซ่อมรถ ร้านนึงเป็นร้านเล็กตอนแรกเราก้อไม่รู้จะทำยังไงดีแต่พี่ที่ร้านเป็นคนที่อารมณ์ดีมาก แนะนำเราตลอด ว่าเป็งยังควรทำยังไง
แล้วเราเวลารถเป็นอะไรก้อจะไปแต่รถนี้ตลอด เพราะเราอยู่ที่รถนี้ไม่ใช่เป็นแต่ร้านซ่อม vespa อย่างเดียว ยังที่พักพิงใจให้เรามีความสุขอยู่แล้วมีแต่ความบันเทิงตลอด และได้ไปทำกิจกรรมตาม ต่างจังหวัด ที่มีแต่ความมันอีกด้วย
วันจันทร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554
วันพุธที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554
เทคนิคการเน้นภาพ
เทคนิคงานกราฟิก Photoshop เน้นภาพถ่ายในส่วนที่ต้องการเน้น
เทคนิคการเน้นภาพถ่าย ในส่วนที่เราต้องการ ให้เด่น ขึ้น ด้วย Photoshop
เทคนิคแบบนี้ จริงๆ แล้วมีหลายแบบ นะครับ แต่ที่ผมขอนำ เสนอ ในครั้งนี้คือ การทำให้ ส่วนที่เราไม่ต้องการทั้งหมด กลายเป็นภาพ ขาวดำ
1 เตรียมภาพที่เราต้องการ นำมาใช้
2. ทำ Selection ในส่วนที่ต้องการให้เด่นเขึ้น
3. ไปที่ Image > Adjustments > Curves..
3.1 จากนั้นปรับความสดใสของภาพ ด้วย Tool Curves
4. ไปที่ Select > Inverse เพื่อ เลือก จุด Selection เป็นรอบนอกแทน
>> ผลลัพธ์
5. ไปที่ Image > Adjustments >Desaturte
>> ผลลัพธ์
6. จะได้่ภาพรอบนอกใน ลักษณะสี เทา จากนั้นไปที่ Image > Adjustments > Hue/ Saturtion
7. จากนั้นปรับ Hue: -180 Saturation -100 เพื่อตัดสี ทั้งหมด ปรับ Lightness -25 ลดแสงออก พอประมาณ
8. ไปที่ Image > Adjustments > Curves.. อีกครั้ง เพื่อปรับ ให้ สีขาวดำ ของภาพ ดู สดไปด้วย
9. จากนั้นกด Ctrl+D เพื่อ เอา Selection ออก จะได้ภาพที่ต้องการแล้วครับ
เทคนิคการเน้นภาพถ่าย ในส่วนที่เราต้องการ ให้เด่น ขึ้น ด้วย Photoshop
เทคนิคแบบนี้ จริงๆ แล้วมีหลายแบบ นะครับ แต่ที่ผมขอนำ เสนอ ในครั้งนี้คือ การทำให้ ส่วนที่เราไม่ต้องการทั้งหมด กลายเป็นภาพ ขาวดำ
1 เตรียมภาพที่เราต้องการ นำมาใช้
2. ทำ Selection ในส่วนที่ต้องการให้เด่นเขึ้น
3. ไปที่ Image > Adjustments > Curves..
3.1 จากนั้นปรับความสดใสของภาพ ด้วย Tool Curves
4. ไปที่ Select > Inverse เพื่อ เลือก จุด Selection เป็นรอบนอกแทน
>> ผลลัพธ์
5. ไปที่ Image > Adjustments >Desaturte
>> ผลลัพธ์
6. จะได้่ภาพรอบนอกใน ลักษณะสี เทา จากนั้นไปที่ Image > Adjustments > Hue/ Saturtion
7. จากนั้นปรับ Hue: -180 Saturation -100 เพื่อตัดสี ทั้งหมด ปรับ Lightness -25 ลดแสงออก พอประมาณ
8. ไปที่ Image > Adjustments > Curves.. อีกครั้ง เพื่อปรับ ให้ สีขาวดำ ของภาพ ดู สดไปด้วย
9. จากนั้นกด Ctrl+D เพื่อ เอา Selection ออก จะได้ภาพที่ต้องการแล้วครับ
วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2554
กิจกรรมที่ เปิดโลก Computer Graphic
คอมพิสเตอร์กราฟิก คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ ออกแบบ นำเสนอ ใช้งาน
ความสำคัญของกราฟิก เช่น เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย เพื่อกระตุ้นความน่าสนใจ
รบบสีที่ใช้แสดงสีในการแสดงในจอคอมฯ สีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน หรือเรียนกกันรวมว่า RGB และ CMYK
ไฟร์ที่ใช้ในระบบ computer graphic มี 3 ตัว เช่น gif jep png
บิตแมป (Bitmap ) หรือ Rastor จะประกอบไปด้วยพิกเซลเรียงต่อเนื่องกัน ภายในแต่ละพิกเซลจะมีองค์ประกอบที่ใช้ในการแสดงสี รูปทรง รูปแบบไฟล์ เราเรียกองค์ประกอบของพิกเซลนี้ว่า บิต ( Bit) ภาพบิตแมปนั้นเราอาจเรียกว่า ราสเตอร์ (Rastor ) หรือเพนต์ไทป์ (Paint-type) ก็ได้ สำหรับข้อดีของบิตแมป คือ จะมีความเร็วในการแสดงสูง ใช้หน่วยความจำน้อยกว่า ตัวอย่างโปรแกรมกราฟิกประเภทบิตแมป เช่น Adobe Photoshop , Fractal Design Painter , Paint Shop Pro , L-View เป็นต้น
เวกเตอร์ (Vector) ภาพประกอบเวกเตอร์นั้นจะใช้สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นตัวสร้างภาพโดยรวมเอกออปเจ๊กหลายๆ ชนิดมาผสมกันเป็นรูปต่างๆ กันได้มากมาย ภาพเวกเตอร์จะมีความละเอียดในการแสดงสูงมาก ไม่ว่าเราจะย่อหรือขยาย จะไม่ทำให้ภาพเพี้ยนไปได้ แต่การแสดงผลจะช้ามาก ตัวอย่างโปรแกรมกราฟิกประเภทเวกเตอร์ เช่น Adobe Illustrator , Macromedia Freehand , Corel Draw เป็นต้น
ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี
1. ภาพที่ต้องการนำเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจำนวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color)
2. ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้
3.ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นำมาสแกน และต้องการนำไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง
Transparent Feature หมายถึงคุณลักษณะของภาพ ที่มีการดรอป ( Drop) การแสดงสีที่ต้องการ มักจะเป็นสีพื้น (จริงๆ เลือกสีได้มากกว่า 1 สี) เพื่อให้สีที่เลือกโปร่งใส |และแสดงผลตามสีพื้นของ Browser
Interlace Feature หมายถึงคุณลักษณะของการแสดงผลแบบโครงร่าง และค่อยๆ แสดงแบบละเอียด โดยใช้หลักการแทรกสอดของเส้นสี โดยปกติการแสดงผลภาพบนอินเทอร์เน็ต จะแสดงผลไล่จาก ขอบบนของภาพจนถึงขอบล่าง ซึ่งมักจะแสดงผลช้ามาก เพราะ ต้องรอให้แต่ละส่วนแสดงผลครบทุกความละเอียด
การนำเสนอแบบโครงร่างของไฟล์ . JPG แตกต่างกับไฟล์ . GIF คือ อาศัยการแสดงผลแบบโครงร่างด้วยภาพความละเอียดต่ำ
ความคาดหวังของวิชานี้ อยากได้อะไรใหม่ในวิชานี้
ความสำคัญของกราฟิก เช่น เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมาย เพื่อกระตุ้นความน่าสนใจ
รบบสีที่ใช้แสดงสีในการแสดงในจอคอมฯ สีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน หรือเรียนกกันรวมว่า RGB และ CMYK
ไฟร์ที่ใช้ในระบบ computer graphic มี 3 ตัว เช่น gif jep png
บิตแมป (Bitmap ) หรือ Rastor จะประกอบไปด้วยพิกเซลเรียงต่อเนื่องกัน ภายในแต่ละพิกเซลจะมีองค์ประกอบที่ใช้ในการแสดงสี รูปทรง รูปแบบไฟล์ เราเรียกองค์ประกอบของพิกเซลนี้ว่า บิต ( Bit) ภาพบิตแมปนั้นเราอาจเรียกว่า ราสเตอร์ (Rastor ) หรือเพนต์ไทป์ (Paint-type) ก็ได้ สำหรับข้อดีของบิตแมป คือ จะมีความเร็วในการแสดงสูง ใช้หน่วยความจำน้อยกว่า ตัวอย่างโปรแกรมกราฟิกประเภทบิตแมป เช่น Adobe Photoshop , Fractal Design Painter , Paint Shop Pro , L-View เป็นต้น
เวกเตอร์ (Vector) ภาพประกอบเวกเตอร์นั้นจะใช้สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นตัวสร้างภาพโดยรวมเอกออปเจ๊กหลายๆ ชนิดมาผสมกันเป็นรูปต่างๆ กันได้มากมาย ภาพเวกเตอร์จะมีความละเอียดในการแสดงสูงมาก ไม่ว่าเราจะย่อหรือขยาย จะไม่ทำให้ภาพเพี้ยนไปได้ แต่การแสดงผลจะช้ามาก ตัวอย่างโปรแกรมกราฟิกประเภทเวกเตอร์ เช่น Adobe Illustrator , Macromedia Freehand , Corel Draw เป็นต้น
ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี
1. ภาพที่ต้องการนำเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจำนวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color)
2. ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้
3.ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นำมาสแกน และต้องการนำไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง
Transparent Feature หมายถึงคุณลักษณะของภาพ ที่มีการดรอป ( Drop) การแสดงสีที่ต้องการ มักจะเป็นสีพื้น (จริงๆ เลือกสีได้มากกว่า 1 สี) เพื่อให้สีที่เลือกโปร่งใส |และแสดงผลตามสีพื้นของ Browser
Interlace Feature หมายถึงคุณลักษณะของการแสดงผลแบบโครงร่าง และค่อยๆ แสดงแบบละเอียด โดยใช้หลักการแทรกสอดของเส้นสี โดยปกติการแสดงผลภาพบนอินเทอร์เน็ต จะแสดงผลไล่จาก ขอบบนของภาพจนถึงขอบล่าง ซึ่งมักจะแสดงผลช้ามาก เพราะ ต้องรอให้แต่ละส่วนแสดงผลครบทุกความละเอียด
การนำเสนอแบบโครงร่างของไฟล์ . JPG แตกต่างกับไฟล์ . GIF คือ อาศัยการแสดงผลแบบโครงร่างด้วยภาพความละเอียดต่ำ
ความคาดหวังของวิชานี้ อยากได้อะไรใหม่ในวิชานี้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)